NARIT ประกาศดาราศาสตร์ไทยขึ้นแท่นอันดับหนึ่งอาเซียน พร้อมเปิดตัวแนวคิด “Astronomy+” เสริมสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้สังคมไทยและสังคมโลก

28 มกราคม 2568 – กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผยดาราศาสตร์ไทยก้าวขึ้นสู่ระดับแถวหน้าของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พร้อมประกาศแนวคิด “Astronomy+” ที่มุ่งขยายบทบาทของดาราศาสตร์ในหลายมิติ

Read more

กระทรวง อว. เดินหน้าพัฒนาอาหารพื้นถิ่น และอาหารฟังก์ชั่น ด้วยการฉายรังสี นำโดย สทน. ร่วมด้วยซินโครตรอน-มรภ.เลย-มรภ.ชัยภูมิ-มรภ.มหาสารคาม

กระทรวง อว. เดินหน้ายกระดับอาหารพื้นถิ่น และอาหารฟังก์ชั่น สู่นวัตกรรมอาหารปลอดภัยด้วยเทคโนโลยีการฉายรังสี เพื่อเพิ่มโอกาสการตลาด ผ่านความร่วมมือ 5 หน่วยงานหลัก นำโดย สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทน. พร้อมด้วยสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) หรือ สซ. และ 3

Read more

อว.พร้อมด้วย วช. มูลนิธิอาจารย์สุกรี เจริญสุข และ Thai PBS จัดการประลองฝีมือแข่งขันเยาวชนดนตรี ครั้งที่ 2 ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้าฯ “วงพิชชโลห์” คว้าชัย! ณ ปราสาทเมืองต่ำ จังหวัดบุรีรัมย์

เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2568 : กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.) ร่วมกับ มูลนิธิอาจารย์สุกรี เจริญสุข และ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส จัดการแสดงดนตรีประจำชาติภายใต้โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาศักยภาพความเป็นเลิศทางดนตรีของเยาวชน “ไทยใหม่” และ “ประลองยอดฝีมือเยาวชนดนตรี ครั้งที่

Read more

“ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม

“2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์  ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว

Read more

ค่ายลำแสงซินโครตรอนชวน “นักเรียนจิตรลดา” สืบหาคนร้ายคดีฆาตกรรมจากเศษขนปริศนา

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) จัดกิจกรรม “ค่ายลำแสงซินโครตรอน แสงแห่งอนาคต” ให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนจิตรลดา พร้อมฐานการทดลองวิทยาศาสตร์ ชูไฮไลท์การจำลองสถานการณ์คดีฆาตกรรมเพื่อสืบหาคนร้ายจากเศษขนด้วยเทคนิคการถ่ายภาพเอกซเรย์ 3 มิติ และฐานการทดลองเพื่อเข้าใจพื้นฐานเทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาคและเทคโนโลยีแสงซินโครตรอน นครราชสีมา –

Read more

สทน.และ IAEA ลงนามความร่วมมือ เสริมสร้างศักยภาพงานวิจัยและพัฒนา ด้านวิศวกรรมชั้นสูงและบุคลากรด้านเทคโนโลยีฟิวชัน  

17 มกราคม 2568  : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทน. และ ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency: IAEA) ได้จัดพิธีลงนามความร่วมมือ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาการวิจัยและความร่วมมือในด้านฟิวชัน เพื่อเสริมสร้างศักยภาพทั้งด้านวิศวกรรมและบุคลากรด้านฟิวชันของประเทศไทย โดยมี รศ.ดร.ธวัชชัย

Read more

อพท. คว้ารางวัล Best Performance Awards ประเภทองค์กรที่มีผลงานโดดเด่นในการป้องกันและรับมือภัยคุกคามไซเบอร์

เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2568 : ดร.ชุมพล มุสิกานนท์ รองผู้อำนวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หรือ อพท. เข้ารับรางวัล Best Performance Awards ประเภทองค์กรที่มีผลงานโดดเด่นในการป้องกันและรับมือภัยคุกคามไซเบอร์ จากดร.ณหทัย ทิวไผ่งาม ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในงาน

Read more

สทนช.-บพท.จับมือกันปั้นหลักสูตรนักบริหารจัดการน้ำ เติมชุดความรู้พัฒนาคุณภาพน้ำ จัดการน้ำท่วม-น้ำแล้งให้องค์กรปกครองท้องถิ่น

2 หน่วยงาน สทนช.-บพท. ลงนามบันทึกความเข้าใจพัฒนาหลักสูตรสร้างนักบริหารจัดการน้ำระดับท้องถิ่น คาดหวังให้มีขีดความสามารถบริหารจัดการ ด้านพัฒนาคุณภาพน้ำ พร้อมสู้ภัยพิบัติน้ำท่วม-น้ำแล้ง ด้วย 3 ชุดความรู้ ดร.สุรสีห์ กิตติมณฑล เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) กล่าวในโอกาสลงนามบันทึกความเข้าใจโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรกลางด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ในการพัฒนาศักยภาพผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านน้ำ และนักบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ที่โรงแรมเซ็นจูรี่พาร์ค เมื่อวันที่ 16

Read more

GISTDA ขานรับนโยบายรัฐฯ ใช้ข้อมูลดาวเทียมร่วมบริหารสถานการณ์ฝุ่น PM2.5

ดร.ปกรณ์ อาภาพันธุ์ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ หรือ GISTDA เปิดเผยภายหลังเข้าร่วมการประชุมติดตามการแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ที่มีนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ว่า ปัจจุบัน GISTDA ใช้ข้อมูลจากดาวเทียมในการติดตามสถานการณ์จุดความร้อน (Hotspot) ของประเทศไทย เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ส่งให้กับหน่วยงานในพื้นที่นำไปบริหารจัดการได้อย่างรวดเร็วและทันต่อสถานการณ์ โดยจำนวนจุดความร้อนและขนาดพื้นที่เผาไหม้เป็นอีกหนึ่งสัญญาณที่สำคัญที่บ่งชี้ความรุนแรงของสถานการณ์ฝุ่น

Read more

อว. โดย GISTDA จับมือ UNOOSA และรัฐบาลญี่ปุ่นร่วมจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Space Law Technical Advisory Mission in Thailand เน้นสร้างความรู้กฎหมายอวกาศสากล

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA ร่วมกับ ร่วมกับสํานักงานกิจการอวกาศ แห่งสหประชาชาติ (United Nations Office for Outer Space Affairs หรือ

Read more