ไบโอเทค เปิดตัว DAPBot (แดปบอท) คู่คิดติดปลายนิ้วคนเกษตร แพลตฟอร์มสนับสนุนการจำแนกศัตรูพืชและเข้าถึงชีวภัณฑ์เกษตร

(28 มี.ค. 67) ในงาน NAC 2024 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี – ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เปิดตัว DAPBot (แดปบอท) แพลตฟอร์มสนับสนุนการจำแนกศัตรูพืชและการเข้าถึงชีวภัณฑ์เกษตร ในรูปแบบ Line Official

Read more

ม.เกษตรฯ ไบโอเทค สวทช. และ วช. ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร จัดประชุมนานาชาติเรื่องโลกร้อนกับการปรับตัวของข้าว หวังเป็นเวทีส่งเสริมความยั่งยืนการผลิตข้าวไทย

(25 มี.ค. 67) ณ ห้องรวงข้าว อาคารวชิรานุสรณ์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ – ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) พร้อมด้วยหน่วยงานพันธมิตร

Read more

เครื่องสกัดเทอร์ปีนและน้ำมันหอมระเหยแบบเคลื่อนที่ นวัตกรรมเพื่อผลิตสารมูลค่าสูงจากไม้ดอกและสมุนไพรไทย

น้ำมันหอมระเหยจากไม้ดอกและสมุนไพรบางชนิด เป็นสารสกัดมูลค่าสูงที่กำลังเป็นที่นิยมในตลาดโลก ด้วยคุณสมบัติอันหลากหลายที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในด้านสุขภาพ ความงาม และเวชภัณฑ์ ข้อมูลจาก imarcgroup.com พบว่าในปี 2566 ตลาดน้ำมันหอมระเหยทั่วโลกมีมูลค่าสูงถึง 12.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีแนวโน้มจะเติบโตอย่างต่อเนื่องแตะ 24.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2575 เช่นเดียวกับตลาดน้ำมันหอมระเหยในประเทศไทยที่ในปี 2565 ตลาดน้ำมันหอมระเหยเติบโตและมีมูลค่ากว่า 3,000

Read more

สวทช. ผนึก ล้ง หนุนเกษตรกรใช้ถุงห่อทุเรียน Magik Growth ลดสารเคมี สร้างมาตรฐานการส่งออก ตอบโจทย์ BCG

(22-23 มีนาคม 2567) ที่สวนทุเรียนคุณต่าย อ.บ่อไร่ จ.ตราด และล้งส่งออกทุเรียน จันทบุรี (ล้งเอ-ต่าย) อ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) นำโดย ดร.ณัฐภพ สุวรรณเมฆ นักวิจัย ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค)

Read more

นักวิจัย NSM ค้นพบ “เปราะนพรัตน์” พืชเฉพาะถิ่นของไทยพันธุ์ใหม่ของโลก ได้รับการตีพิมพ์ลงวารสารระดับนานาชาติ Annales Botanici Fennici (Q2) ประเทศฟินเเลนด์ ฉบับที่ 61 เมื่อวันที่ 7 มี.ค. 2567 เตรียมนำองค์ความรู้ไปต่อยอดด้านทรัพยากรและอนุรักษ์พันธุกรรม พร้อมจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์พระรามเก้า เดือน มิ.ย. – ส.ค.นี้

เมื่อวันที่ 12 มี.ค. ผศ.ดร.รวิน ระวิวงศ์ ผอ.องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) หรือ NSM เปิดเผยว่า ทีมนักวิจัยของ NSM นำโดย ดร.ณัฐพล นพพรเจริญกุล นักวิชาการกองวิชาการพฤกษศาสตร์ สำนักวิชาการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา NSM และ ผศ.ดร.ทยา

Read more

18 ปีกรมการข้าว มุ่งมั่นพัฒนา ยกระดับ เพิ่มศักยภาพข้าวไทย

วันที่ 15 มีนาคม 2567 : นายอนุชา นาคาศัย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานพิธีประกาศเกียรติคุณข้าราชการพลเรือนดีเด่น คนดีศรีข้าว และศูนย์ดีเด่น กรมการข้าว ประจำปี 2566 และมอบทุนการศึกาบุตรของบุคลากรกรมการข้าว ประจำปี 2567 เนื่องในงานวันคล้ายวันสถาปนากรมการข้าวครบรอบ 18 ปี

Read more

วช. เผยแนวโน้มสถานการณ์น้ำ ปี 67 – 68 สามารถรับมือภัยแล้งได้ดียิ่งขึ้น

วันที่ 12 มีนาคม 2567 : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตระหนักถึงสถานการณ์น้ำที่แปรปรวน การปรับเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศ ทำให้เกิดภาวะน้ำท่วม น้ำแล้ง สลับกันไป จึงมีงานวิจัยที่ช่วยในการเพิ่มความถูกต้องในการทำนาย จำลองสภาพล่วงหน้า ช่วยในการตัดสินใจ และเตรียมตัว รับมือกับภัยแล้ง

Read more

เชิญร่วมงานประชุมนานาชาติเรื่องโลกร้อนกับการปรับตัวของข้าว

ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว ม.เกษตรศาสตร์ และไบโอเทค สวทช. ขอเชิญนักวิจัยด้านข้าวภาครัฐและเอกชน หน่วยงานให้ทุน สถานทูต สถาบันการศึกษา เกษตรกรรุ่นใหม่ และผู้ส่งออกข้าวไทย ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป เข้าร่วมงานการประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่อง International Conference/Workshop on Rice Climate Mitigation and

Read more

49 ปี ส.ป.ก. พลิกโฉม เพิ่มมูลค่า มุ่งสู่อนาคตที่ยั่งยืน

ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (รมว.กษ.) เป็นประธานพิธีเปิดกิจกรรมงานวันคล้ายวันสถาปนา ส.ป.ก. ครบรอบ 49 ปี พร้อมด้วย นายไชยา พรหมา และ นายอนุชา นาคาศัยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (รมช.กษ.) เข้าร่วมเป็นเกียรติในงาน รวมถึง นายวิณะโรจน์

Read more

นักวิทย์ซินโครตรอนหาเอกลักษณ์ “แจงสุรนารี” เดินหน้าสร้างมูลค่าพรรณไม้เฉพาะถิ่นโคราช

นักวิทยาศาสตร์สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) ใช้รังสีอินฟราเรดจากแสงซินโครตรอนวิเคราะห์ “แจงสุรนารี” พรรณไม้ที่เคยค้นพบว่าเป็นชนิดใหม่ของโลกเมื่อปี 2564 และเดินหน้าหาสารสำคัญเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ สร้างมูลค่าให้กับแจงสุรนารีซึ่งเป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นจังหวัดนครราชสีมา นครราชสีมา – ดร.กาญจนา ธรรมนู นักวิทยาศาสตร์สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน กล่าวว่า “นักวิทยาศาสตร์ของสถาบันฯ

Read more