49 ปี ส.ป.ก. พลิกโฉม เพิ่มมูลค่า มุ่งสู่อนาคตที่ยั่งยืน

ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (รมว.กษ.) เป็นประธานพิธีเปิดกิจกรรมงานวันคล้ายวันสถาปนา ส.ป.ก. ครบรอบ 49 ปี พร้อมด้วย นายไชยา พรหมา และ นายอนุชา นาคาศัยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (รมช.กษ.) เข้าร่วมเป็นเกียรติในงาน รวมถึง นายวิณะโรจน์

Read more

นักวิทย์ซินโครตรอนหาเอกลักษณ์ “แจงสุรนารี” เดินหน้าสร้างมูลค่าพรรณไม้เฉพาะถิ่นโคราช

นักวิทยาศาสตร์สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) ใช้รังสีอินฟราเรดจากแสงซินโครตรอนวิเคราะห์ “แจงสุรนารี” พรรณไม้ที่เคยค้นพบว่าเป็นชนิดใหม่ของโลกเมื่อปี 2564 และเดินหน้าหาสารสำคัญเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ สร้างมูลค่าให้กับแจงสุรนารีซึ่งเป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นจังหวัดนครราชสีมา นครราชสีมา – ดร.กาญจนา ธรรมนู นักวิทยาศาสตร์สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน กล่าวว่า “นักวิทยาศาสตร์ของสถาบันฯ

Read more

สวทช. จัดประชุมวิชาการประจำปี ‘NAC2024’ ชูงานวิจัย BCG Implementation พลิกโฉมประเทศ

(4 มีนาคม 2567) ที่ห้องแถลงข่าว ชั้น 1 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) : ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำนงค์ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ดร.สุธี ผู้เจริญชนะชัย รองผู้อำนวยการศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค)

Read more

พิพิธภัณฑ์การเกษตรฯ ชวนเที่ยวงานตลาดเศรษฐกิจพอเพียง พันธุกรรมไทยใต้น้ำ จากแหล่งอาหารธรรมชาติ สู่การพัฒนาสร้างรายได้

          พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เตรียมจัดตลาดเศรษฐกิจพอเพียง “พันธุกรรมไทยใต้น้ำ” ระหว่างวันที่ 2 – 3 มีนาคม 2567 ระหว่างเวลา 08.00 – 17.00 น. ณ พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดปทุมธานี ชูประเด็นความหลากหลายและความมหัศจรรย์ของพันธุกรรมไทยทั้งพืชน้ำและสัตว์น้ำที่สร้างความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศแหล่งน้ำไทย

Read more

วช. ร่วมเปิดศูนย์การเรียนรู้โดรนเพื่อการเกษตร ต้นแบบแห่งแรกของภาคใต้ ณ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน จ.ชุมพร

เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2567 : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พร้อมด้วยวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน จ.ชุมพร และสมาคมกีฬาเครื่องบินจำลองและวิทยุบังคับ ร่วมเปิดศูนย์การเรียนรู้โดรนเพื่อการเกษตรต้นแบบแห่งแรก ณ จังหวัดชุมพร โดยมี ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

Read more

สวทช.-สวก.-กรมส่งเสริมการเกษตร ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังในระบบอินทรีย์ นำร่องชาวไร่มันฯ พื้นที่อีสาน 160 ราย ผลิตมันอินทรีย์ 500 ไร่ ผลผลิตเพิ่ม 20-30%

(23 กุมภาพันธ์ 2567) ณ แปลงเกษตรกรต้นแบบ (นายรังสรรค์ อยู่สุข) หมู่ 10 ต.นาคาย อ.ตาลสุม จ.อุบลราชธานี: นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เป็นประธานเปิดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ประจำปี 2567

Read more

ไบโอเทค เปิดบ้าน TBRC คลังจุลินทรีย์ชั้นนำระดับอาเซียน ที่มีมากเกือบ 1 แสนสายพันธุ์ ชี้เป็นต้นน้ำงานวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อตอบโจทย์วิจัย-อุตสาหกรรม หนุน BCG เศรษฐกิจฐานชีวภาพ

(22 กุมภาพันธ์ 2567) ณ อาคารไบโอเทค อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี – ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เปิดศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย (TBRC) ให้สื่อมวลชนเยี่ยมชมคลังเก็บรักษาจุลินทรีย์และชีววัสดุ ซึ่งมีมากเกือบ 1 แสนสายพันธุ์ ใหญ่ที่สุดในระดับภูมิภาคอาเซียน พร้อมโชว์จุดแข็งของ

Read more

วช. เชิดชู “วิน สุรเชษฐพงษ์” นักวิจัย ม.เกษตร เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 67 ผู้ศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีจัดการโรคไวรัสอุบัติใหม่ในฟาร์มปลานิลและปลานิลแดง

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัดงาน NRCT Talk : นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติประจำปี 2567 ครั้งที่ 2 เปิดตัวนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ประจำปี 2567 รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.วิน สุรเชษฐพงษ์ แห่ง คณะสัตวแพทยศาสตร์

Read more

วช. ร่วมกับภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนประเทศไทย “เริ่มด้วยใจ เปลี่ยนผ่านไทยสู่ชุมชนคาร์บอนต่ำ”

เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม และองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) พร้อมทั้งผู้แทนองค์กรระหว่างประเทศ United Nations Industrial

Read more

สตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 89 กลิ่นหอม ทนต่อการขนส่ง มีปริมาณสารแอนโทไซยานินหรือสารต้านอนุมูลอิสระสูง

โครงการวิจัยเรื่อง “การวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีก่อนและหลังเก็บเกี่ยวสตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 89 ในเขตภาคเหนือ” ดำเนินโครงการโดย รองศาสตราจารย์ ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท และคณะนักวิจัย แห่งมหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อคัดเลือกสายพันธุ์ที่มีศักยภาพในการผลิตสารแอนโทไซยานินในสตรอว์เบอร์รี ณ สถานีเกษตรโครงการหลวงทุ่งหลวง อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท หัวหน้าโครงการฯ กล่าวว่า

Read more