สวทช. ยกระดับความเข้าใจและอัพเดทความคืบหน้าของการบังคับใช้กฎหมาย PDPA ใน 1 เดือนแรก พร้อมเวทีเสวนาถึงผลกระทบที่ภาคธุรกิจและประชาชนที่ได้รับ

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย และบริษัท เอซิส โปรเฟสชั่นนัล เซ็นเตอร์ จำกัด ร่วมจัดงานสัมมนาหัวข้อ “PDPA พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กับผลกระทบต่อภาคธุรกิจและประชาชน” เพื่ออัพเดทความคืบหน้าของการบังคับใช้กฎหมายใน 1 เดือนแรก และแนวทางการสร้างความเข้าใจให้ภาคธุรกิจและภาคประชาชน

Read more

วช.หนุนทีมวิจัยมหิดล พัฒนาต้นแบบป้องกันปัญหาการข่มขืน กระทำชำเรา

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หนุนทีมวิจัย ม.มหิดล พัฒนาต้นแบบการสร้างเครื่องมือป้องกันปัญหาการข่มขืนกระทำชำเราในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดคดีข่มขืนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี และช่วยลดปัญหาความรุนแรงในสังคมไทย เผย 4 เดือนแรกของปี 2565 มีเหยื่อโดนข่มขืนถึง 289 ราย ดร.วิภารัตน์

Read more

วช. มอบรางวัลนักวิจัยดีเด่น ปี 65 เชิดชู “ศ.ณรงค์ ใจหาญ” ผู้อยู่เบื้องหลังก้าวสำคัญของการพัฒนากระบวนการยุติธรรมและกฎหมายไทย

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดงาน NRCT Talk เปิดบ้านงานวิจัยและนวัตกรรม By NRCT ครั้งที่ 5 เชิดชูนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 “ศาสตราจารย์ณรงค์ ใจหาญ” นักวิจัย

Read more

วช. จับมือวุฒิสภาลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ นำกระบวนการวิจัยและพัฒนาช่วยในการออกกฎหมาย

วันอังคารที่ 17 พฤษภาคม 2565 ที่ห้องประชุม 402 ชั้น 4 อาคารรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ร่วมกับ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือว่าด้วยการส่งเสริมการวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยมี ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานวุฒิสภา เป็นประธานในพิธีกล่าวเปิดงานและเป็นประธานในพิธีลงนาม มีผู้บริหารทั้งสองหน่วยงานเข้าร่วมในพิธี ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร

Read more

ศร. เปิดโครงการพัฒนาวิชาการด้านคดี เสริมความรู้แก่บุคลากร ศร.

วันที่ 5 พฤษภาคม 2565 สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ (ศร.) เปิดโครงการพัฒนาวิชาการด้านคดี ครั้งที่ 1 โดยมี สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประสานการจัดกิจกรรมฯ เพื่อสร้างเสริมองค์ความรู้และประสบการณ์ให้กับบุคลากรสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญในด้านการศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลวิชาการ การเขียนทางวิชาการด้านคดี

Read more

วช. พร้อมขับเคลื่อน สังคมไร้ความรุนแรง ปลอดภัยจากอาชญากรรม

วันนี้ (วันที่ 3 พฤษภาคม 2565) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) จัดการสัมมนาเสนอผลการศึกษาต้นแบบการสร้างเครื่องมือป้องกันปัญหาการข่มขืนกระทำชำเรา ในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน เพื่อลดปัญหาอาชญากรรมการข่มขืนกระทำชำเรา​ โดย ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง

Read more

’เอนก’ ชื่นชม ‘สมาร์ทเซฟตี้โซน 4.0’ ที่คว้ารางวัลชนะเลิศ The Best Experience in Community Policingในการประชุมสุดยอดตํารวจโลก ที่ดูไบ

รมว.อว. ชื่นชม โครงการ “สมาร์ทเซฟตี้โซน 4.0” ของ สตช. ที่ได้รับการสนับสนุนจาก วช. จนคว้ารางวัลชนะเลิศ จากการประชุมสุดยอดตำรวจโลก ในเมืองดูไบ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แสดงความยินดีกับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (สตช.)

Read more

วช.ปลื้มนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขานิติศาสตร์ ประจำปี 2565 จากแนวคิด “งานวิจัยทางกฎหมายสู่สังคมยุคใหม่ที่ดีขึ้น”

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เปิดตัว “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขานิติศาสตร์ ประจำปี 2565” ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และผู้อำนวยการหลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ในงาน NRCT Talk:

Read more

ปกรณ์ย้ำ…ถึงเวลาแล้วที่ประเทศไทยจะต้องมี “กฎหมายอวกาศ”

หลังจาก ศรชล.ภาค 3 ได้ประสานความร่วมมือกับ GISTDA และหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ส่งผู้เชี่ยวชาญร่วมวางแผนการเก็บกู้ถังเชื้อเพลิงของจรวดที่ถูกนำส่งขึ้นสู่อวกาศ โดยค้นพบที่บริเวณเกาะแอล จังหวัดภูเก็ต จนภารกิจสำเร็จลุล่วงไปแล้วเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคมที่ผ่านมา นั้น เรื่องดังกล่าว ถือเป็นเรื่องสำคัญที่มีความเกี่ยวข้องกับ “กฎหมายอวกาศ” ถึงแม้วัตถุอวกาศที่ตกมาสู่พื้นโลกจะไม่ได้สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน แต่กฎหมายอวกาศหรือข้อตกลงทางด้านอวกาศได้มีการกล่าวถึงรายละเอียดของการชดใช้ความเสียหายที่เกิดจากจรวด หรือดาวเทียม หรือสถานีอวกาศ

Read more

คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา

หากคดีส่วนอาญาต้องห้ามฎีกาในคดีส่วนแพ่งก็จะถึงที่สุดในชั้นอุทธรณ์ หากจะฎีกาส่วนแพ่งต้องขออนุญาตจากศาลฎีกา *คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3789/2562 การยื่นคำร้องขอให้บังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 44/1 เป็นการใช้สิทธิยื่นคำร้องในคดีอาญาที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ มิใช่เป็นคดีที่ผู้เสียหายฟ้องเองโดยตรง จึงต้องถือว่าคำพิพากษาในส่วนที่ผู้เสียหายเรียกค่าสินไหมทดแทนเป็นส่วนหนึ่งของคำพิพากษาในคดีส่วนอาญา ทั้งการพิพากษาคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญา ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 46 ดังนั้น สิทธิในการอุทธรณ์ฎีกาเกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทนในคดีส่วนแพ่งดังกล่าวต้องถือคดีส่วนอาญาเป็นหลัก

Read more