เนคเทค สวทช. จัดการประกวดเพื่อเฟ้นหา นักเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และนวัตกรรุ่นเยาว์ (Young Electronics Technologists and Innovators: YETI 2021)

อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค สวทช.) ได้จัดการประกวดนักเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และนวัตกรรุ่นเยาว์ (Young Electronics Technologists and Innovators: YETI) ประจำปี 2564 แข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ชิงทุนพัฒนาผลงานและเงินรางวัลมูลกว่า

Read more

วช.” เสริม เทคโนโลยีปลูกผักไฮโดรโพนิกส์ DRFT “มอ.” จุดประกายความรู้สู่ชุมชน

ปัจจุบัน การผลิตผักในดินมีข้อจำกัดและอุปสรรคอย่างมากสำหรับเกษตรกร เนื่องจากไม่สามารถดำเนินการได้ตลอดทั้งปี และปัญหาคุณภาพดินที่ไม่เหมาะสม เช่น เป็นกรดจัด เป็นดินเค็ม มีโลหะหนักและสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง มีธาตุอาหารในดินที่ไม่สมดุล เป็นต้น ตลอดจนปัญหาขาดแคลนน้ำและน้ำท่วม รวมทั้ง การเกิดโรคและแมลงศัตรูผัก ผักที่ผลิตได้มักมีค่าไนเทรตเกินมาตรฐาน ส่งผลให้ผู้บริโภคขาดความมั่นใจในคุณภาพและความปลอดภัยของผัก ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า วช.

Read more

GISTDA ชูเทคโนโลยีอวกาศ ร่วมปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนตามโครงการ “ผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่”

10 กันยายน 2564 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA จัดสัมมนารูปแบบ online ในหัวข้อ “เทคโนโลยีอวกาศสู่การบริหารจัดการภาคการเกษตร” เพื่อนำเสนอการปรับหลักสูตรการเรียนการสอนในรูปแบบการผลิตบัณฑิตในโครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่และให้คณาจารย์ในมหาวิทยาลัยนำข้อมูลไปใช้ต่อยอดในการจัดการเรียนการสอน พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนข้อมูลและถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านการเกษตร ดร.ปกรณ์ อาภาพันธุ์

Read more

วว. ให้บริการโรงรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ช่วยเกษตรกรแก้ปัญหาผลผลิตลำไยล้นตลาด @ ลำพูน

กระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์  วิจัยและนวัตกรรม  (อว.)  โดย  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย   (วว.)    นำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม  ช่วยเหลือเกษตรกรแก้ปัญหาผลผลิตลำไยล้นตลาด ผ่านการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานภูมิภาค  ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยียืดอายุลำไยเพื่อการส่งออกณ ตำบลเหล่ายาว อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน ซึ่งมีศักยภาพในการรมควันแก๊สซัลเฟอร์ฯ ลำไยในปริมาณ   72 ตันต่อวัน ช่วยยืดอายุการเก็บผลลำไยหลังการเก็บเกี่ยวได้นานขึ้น

Read more

คพ. ผนึก สวทช. ใช้ ‘ซูเปอร์คอมพิวเตอร์’ คาดการณ์ฝุ่น PM 2.5 รู้ล่วงหน้า 3 วัน

กรมควบคุมมลพิษ ผนึกกำลังบุคลากรและเครื่องมือ สวทช. ใช้ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง หรือ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) จากศูนย์ทรัพยากรคอมพิวเตอร์เพื่อการคำนวณขั้นสูง หรือ ThaiSC  พัฒนาการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เฉพาะทางด้านมลพิษทางอากาศ (WRF-chem) เพื่อคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ได้เร็วขึ้นถึง 15 เท่า ช่วยรองรับการคาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละออง PM

Read more