วช. เสริม ม.บูรพา เลี้ยงหอยแครงระบบปิดด้วยแพลงก์ตอนพืช เกษตรกรปลื้ม หอยแครงโตเต็มที่

การเลี้ยงหอยแครงในพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลของไทย ประสบปัญหาด้านคุณภาพน้ำเสียที่ถูกปล่อยลงสู่ทะเลมาอย่างต่อเนื่อง เกษตรกรได้ปรับมาใช้วิธีการเลี้ยงหอยแครงในบ่อดิน แต่ยังคงต้องใช้เวลาเลี้ยงหอยแครงนาน และการเจริญเติบโตยังไม่เต็มที่ คณะนักวิจัย นำโดย ดร.ไพฑูรย์ มกกงไผ่ แห่งสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ศึกษาวิจัยและดำเนินการถ่ายทอด โครงการพัฒนาบ่อดินให้เป็นบ่อเลี้ยงหอยแครงในระบบปิดแบบพัฒนาด้วยการผลิตแพลงก์ตอนพืช (สาหร่ายเซลล์เดียว) ร่วมกับเกษตรกรกลุ่มเพาะเลี้ยงหอยแครง ตำบลคลองโคน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม โดยการสนับสนุนทุนวิจัย จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

Read more

สกสว. เปิดเวทีพลิกโฉมธุรกิจการเงินด้วยนวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์

วันนี้ (14 กรกฎาคม 2564) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) จัดเวทีเสวนาออนไลน์รับฟังความคิดเห็นแผนงานวิจัยและนวัตกรรมด้านดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ ในธุรกิจการเงินและธนาคาร ในหัวข้อ “พลิกโฉมธุรกิจการเงินแห่งอนาคต ด้วยนวัตกรรมดิจิทัลปัญญาประดิษฐ์” โดยมีผู้เชี่ยวชาญในแวดวงธุรกิจการเงิน หน่วยงานภาครัฐด้านอุตสาหกรรมใหม่ ตลอดจนนักวิจัยทั้งทางด้านเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจการเงินและธนาคาร ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ระบบอัตโนมัติ ระบบดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ เข้าร่วมประชุมรวมถึงแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อรับฟังความคิดเห็นแผนงานวิจัยและนวัตกรรมด้านดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการเงินและธนาคาร

Read more

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (สทป.) นำองค์ความรู้ และขีดความสามารถในการวิจัย พัฒนา และผลิตจรวดสำหรับใช้ในทางทหารมาต่อยอดในการวิจัยและพัฒนาเป็นจรวดดัดแปรสภาพอากาศ

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (สทป.) ร่วมกับ กรมฝนหลวงและการบินเกษตร (ฝล.) ดำเนินการโครงการวิจัยและพัฒนาจรวดดัดแปรสภาพอากาศ โดยกรมฝนหลวงและการบินเกษตรกำหนดความต้องการทางเทคนิคให้สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศเป็นผู้ดำเนินการออกแบบและผลิตจรวด สำหรับบรรจุสารซิลเวอร์ไอโอไดด์ใช้ในภารกิจยับยั้งพายุลูกเห็บหรือทดลองทำฝนจากเมฆเย็นในสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นเทคโนโลยีทางเลือกในการสนับสนุนภารกิจการทำฝนเมฆเย็นหรือสลายลูกเห็บ ในกรณีที่สภาพอากาศแปรปรวนเครื่องบินไม่สามารถขึ้นบินได้ โดยจรวดที่วิจัยและพัฒนาจะถูกยิงจากพื้นสู่อากาศเข้าสู่ก้อนเมฆที่ระดับความสูงประมาณ 18,000-24,000 ฟุต เพื่อปล่อยสารซิลเวอร์ไอโอไดด์ลงในเมฆเย็น และมีระบบร่มนิรภัยสำหรับลดความเร็วของชิ้นส่วนจรวดให้ตกลงสู่พื้น เพื่อความปลอดภัยในบริเวณพื้นที่ปฏิบัติการ โดยในเบื้องต้นกำหนดพื้นที่ทดลองปฏิบัติการเป็นพื้นที่บริเวณอุทยานแห่งชาติแม่ปิง ซึ่งเป็นแหล่งต้นน้ำและเป็นพื้นที่ที่มีความปลอดภัยจากชุมชน เหมาะสำหรับทำให้เมฆเย็นตกลงมาเป็นฝน เพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนจากภัยแล้ง

Read more

สวทช. ประกาศผล ‘คิโบะ โรบ็อต โปรแกรมมิ่ง ชาเลนจ์ ครั้งที่ 2’ ทีมเยาวชนจากโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี คว้ารางวัลชนะเลิศ เป็นตัวแทนประเทศเข้าแข่งขันชิงแชมป์เอเชีย

(14 กรกฎาคม 2564) Facebook Live เพจ NSTDA SPACE Education: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ องค์กรสำรวจอวกาศญี่ปุ่น หรือ แจ็กซา (Japan

Read more

วว. โชว์ 3 ผลิตภัณฑ์แปรรูปเพิ่มมูลค่าข้าวไรซ์เบอรี่ สำหรับใช้เป็นส่วนผสม “ ไซรัปชนิดเข้มข้น น้ำสัมสายชูหมัก ไซเดอร์ ”อาหาร

          กระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์  วิจัยและนวัตกรรม  (อว.)  โดย  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย  (วว.)  ประสบผลสำเร็จในการวิจัยและพัฒนา  “ 3  ผลิตภัณฑ์แปรรูปเพิ่มมูลค่าข้าวไรซ์เบอรี่”   ได้แก่ ไซรัปชนิดเข้มข้น  น้ำสัมสายชูหมัก  ไซเดอร์  สำหรับใช้เป็นส่วนผสมอาหาร  ระบุผลิตภัณฑ์มีประโยชน์ต่อร่างกาย มีสารสำคัญสูง “วิตามิน

Read more

กิจการอวกาศไทยคลอดแล้ว ครม. ไฟเขียวร่าง พรบ.กิจการอวกาศฯ ในการประชุมเมื่อวันอังคารที่ 13 กรกฎาคม 2564

ศ (พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ชี้แจงว่า พระราชบัญญัติกิจการอวกาศฉบับนี้ เป็นกฎหมายที่มีความทันต่อสถานการณ์และรองรับอนาคตของประเทศไทย ในปัจจุบันเทคโนโลยีอวกาศมีการเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอวกาศเกิดขึ้นมากมายที่ดำเนินงานโดยหน่วยงานจากภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยหรือแม้แต่ระดับโรงเรียน มีความร่วมมือจากภายในประเทศและต่างประเทศ กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เกิดประโยชน์กับประเทศในวงกว้างทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม กฎหมายอวกาศหรือพระราชบัญญัติกิจการอวกาศ พ.ศ. …. จัดทำขึ้น

Read more

“เอนก” เสนอรัฐบาลอนุมัติทำ “ศูนย์ปฎิบัติการความปลอดภัยสูงสุดระดับ 4” สำหรับทดลองทำวัคซีน ทดลองยา ทดลองการเปลี่ยนแปลงเชื้อหรือพันธุกรรม สู้สงครามเชื้อโรค พร้อมทำ“ห้องไอซียูสัญจร” รักษาผู้ป่วยทั่วไทย มอบนวัตกรรม “PAPR – ชุดกาวน์กันน้ำ” 5 พันชุดแก่ สธ.

ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รมว.อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เป็นประธานส่งมอบนวัตกรรมชุดหน้ากากป้องกันเชื้อโรคแบบคลุมศีรษะพร้อมชุดกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (PAPR) และอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล ให้กับกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เพื่อรับมือสถานการณ์โควิด-19 มี นพ.สุระ วิเศษศักดิ์ รองปลัด สธ.เป็นผู้รับมอบ ทั้งนี้ ศ.ดร.เอนก กล่าวว่า

Read more

บพข. ให้ทุนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศจัดรูปแบบโลจิสติกส์ระบบเครือข่ายปฐมภูมิ ผนึกกำลัง ม.มหิดล – ม.เชียงใหม่ – สธ. และเอกชน ดูแลสุขภาพองค์รวม ผู้ป่วยไม่ต้องเดินทางมาโรงพยาบาล ลดแออัดต้นทุน และเวลา

จากสถานการณ์ด้านสุขภาพในประเทศไทยอันมีผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของภาคเศรษฐกิจและสังคม การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากรที่ทำให้ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุนั้นมีโรคประจำตัวที่หลากหลาย เช่น ความดัน เบาหวาน เป็นต้น ดังนั้นการดูแลและให้บริการสุขภาพแบบองค์รวม (Holistic care) ในระดับปฐมภูมิจึงเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นมากในขณะนี้  ซึ่งแนวทางการแก้ปัญหาของกระทรวงสาธารณสุข คือ การดำเนินจัดตั้งเครือข่ายคลินิกหมอครอบครัวหรือเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อดูแลสุขภาพแบบองค์รวมขึ้น แต่ในปัจจุบันเครือข่ายบริการปฐมภูมิยังไม่สามารถเชื่อมต่อและบูรณาการข้อมูลร่วมกันระหว่างเครือข่ายได้เป็นรูปธรรม ศูนย์การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสุขภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ

Read more

นายกรัฐมนตรีประกาศเดินหน้าแผนปฏิบัติการด้านการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทย ด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG ภายใน 7 ปี (พ.ศ. 2564-2570)

12 กรกฎาคม 2564 – พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการบริหารการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy: BCG Model) ครั้งที่ 2/2564 นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า จากการประชุมคณะกรรมการบริหารการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy:

Read more

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติและสถาบันบริการวิชาการแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ร่วมขับเคลื่อนโครงการฝึกอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่”

เมื่อวันที่ 7 – 11 กรกฎาคม พ.ศ.2564 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ สถาบันบริการวิชาการแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ร่วมกันจัดโครงการฝึกอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่) ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom Meeting โดยมี นายสมปรารถนา สุขทวี

Read more