มหิดลยืนหนึ่ง! ผลิต “โซล่าเซลล์เพอรอฟสไกต์”แบบหลายชั้น ควบคุมได้ ครั้งแรกของโลก เตรียมรับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ในงานวันนักประดิษฐ์ 2565

ปัจจุบันการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ สังคม และประชากรที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดความต้องการพลังงาน จากการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด สภาพแวดล้อมทั่วโลกจึงเริ่มเสื่อมถอย การพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานสะอาดขนาดใหญ่ ให้มีความปลอดภัย เหมาะสม และยั่งยืนสำหรับอนาคต จะสามารถช่วยแก้ปัญหาวิกฤติทางพลังงานได้ รศ.ดร.พงศกร กาญจนบุษย์ นักวิจัยสาขาวิชาวัสดุศาสตร์และนวัตกรรมวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ที่ผ่านมาเซลล์แสงอาทิตย์ที่นิยมนำมาใช้สำหรับพัฒนาเทคโนโลยีด้านพลังงานแสงอาทิตย์ ได้แก่

Read more

นาโนเทค สวทช. จับมือ GPSC นำสารเคลือบนาโนสูตรพิเศษสำหรับพื้นผิวเซลล์แสงอาทิตย์ หนุนเกิดศูนย์เรียนรู้ระบบพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์ของ วษท.สระแก้ว

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยทีมวิจัยนวัตกรรมเคลือบนาโน ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ร่วมกับบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) หรือ GPSC นำนวัตกรรมสารเคลือบนาโนสูตรพิเศษสำหรับพื้นผิวเซลล์แสงอาทิตย์ ช่วยลดการจับเกาะของฝุ่น เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ ทนทานต่อสภาพอากาศในเมืองไทย ลดภาระในการทำความสะอาดและบำรุงรักษา ร่วมในโครงการ Light

Read more

ซินโครตรอนหนุนห้องความดันลบให้ รพ.มทส.รับมือ “โอไมครอน”

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พร้อมสนับสนุนนวัตกรรมทางการแพทย์เป็นตู้คัดกรอง 4 ตู้ และห้องแยกโรคความดันลบอีก 1 ห้อง เพื่อให้โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เตรียมความพร้อมสถานกักตัว เพื่อรับมือโควิด-19 สายพันธุ์โอไมครอนที่กำลังระบาด นครราชสีมา – รศ.ดร.สาโรช รุจิรวรรธน์

Read more

วว. วิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัล “โพรเฮิร์บ” ควบคุมภาวะเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในผู้สูงวัย ตอบโจทย์การพัฒนาเทคโนโลยีด้านอุตสาหกรรมแปรรูปของประเทศ

กระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์  วิจัยและนวัตกรรม (อว.)   โดย  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย  (วว.)  ตอบโจทย์การพัฒนาเทคโนโลยีประเทศด้านอุตสาหกรรมแปรรูป ประสบผลสำเร็จวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัล (Functional food products) ชนิดใหม่ในรูปของผงชาฟรีซดรายสำหรับชงน้ำเย็นดื่มและผลิตภัณฑ์ชนิดผงพร้อมบริโภค ภายใต้ชื่อ “โพรเฮิร์บ (ProHerb)”  ที่พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสู่เชิงพาณิชย์ ทั้งนี้องค์ประกอบสำคัญในผลิตภัณฑ์คือ สารออกฤทธิ์เชิงหน้าที่จากธรรมชาติ 2

Read more

“เอนก” เปิดตัว 4 เสือ อว. “สำนักปลัด – วช. – วศ. – ปส.” รวมพลังสร้างโมเดลใหม่ในการปฏิรูปหน่วยงานราชการ นำร่อง “สตูล” ร่วมพัฒนา “สตูลจีโอพาร์ค” อุทยานธรณีโลกแห่งแรกแห่งเดียวของประเทศไทยให้เป็นแหล่งรายได้สำคัญของจังหวัด

วันที่ 15 ม.ค.2565 ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พร้อมด้วย ศ.ดร.นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัด อว. ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผอ.สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) นพ.ปฐม

Read more

วช. โชว์รางวัลวิจัยดีเด่นแห่งชาติ 2565 สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ สืบแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ลด“มลพิษทางน้ำ”อย่างยั่งยืน

นักวิจัย สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ พัฒนาเทคโนโลยีกลุ่มจุลินทรีย์ ระบุแหล่งกำเนิดน้ำเสียในประเทศไทย (Microbial Source Tracking) แก้ปัญหามลพิษและโรคทางน้ำ ฟื้นฟูและจัดการคุณภาพแหล่งน้ำธรรมชาติ เป็นที่ยอมรับระดับนานาชาติ ร่วมมือกับการประปาฯ กรมปศุสัตว์ กรมควบคุมมลพิษ ใช้ประโยชน์งานวิจัย สอดรับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เร็วนี้ ๆ เตรียมรับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

Read more

วว.ร่วมต้อนรับ/หารือกรอบประเด็นโมเดลเศรษฐกิจกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ การค้าและอุตสาหกรรมญี่ปุ่น

ศ. (พิเศษ) ดร.เอนก   เหล่าธรรมทัศน์  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พร้อมคณะผู้บริหารกระทรวง อว. ให้การต้อนรับ นายฮากิอูดะ  โคอิจิ  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ การค้าและอุตสาหกรรมญี่ปุ่นพร้อมคณะ ในโอกาสเข้าพบเพื่อแนะนำตัวและหารือในเรื่อง การสอดประสานความร่วมมือระหว่างโมเดลเศรษฐกิจชีวภาพ  เศรษฐกิจหมุนเวียนและเศรษฐกิจสีเขียว (BCG  Economy)

Read more

วว. / เครือข่าย มทร. 9 สถาบัน Kickoff จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพระบบขนส่งทางราง

กระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ร่วมประชุมเริ่มงาน (Kickoff   Meeting) กับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล  9  สถาบัน  ผ่านระบบออนไลน์เพื่อเตรียมร่วมกันจัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพระบบขนส่งทางราง (Non-degree  programs) ซึ่งเป็นกิจกรรมภายใต้บันทึกความเข้าใจการพัฒนากำลังคนเพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ ระบุพร้อมเปิดการเรียน การสอน/การอบรมในปี 2565

Read more

GISTDA เผยข้อมูลจากดาวเทียมซูโอมิ เอ็นพีพี (Suomi NPP) ของระบบเวียร์ (VIIRS)

วันที่ 13 มกราคม 2565 GISTDA เผยข้อมูลจากดาวเทียมซูโอมิ เอ็นพีพี (Suomi NPP) ของระบบเวียร์ (VIIRS) พบจุดความร้อนทั้งประเทศ จำนวน 404 จุด เพิ่มขึ้นจากวานก่อน 86 จุด โดยพบมากสุดในพื้นที่เกษตร 181

Read more

สภานโยบายฯ เสนอรายงานการพัฒนาการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ปี 64 ต่อ ครม. ชูประเด็นสำคัญเรื่องการฟื้นตัวจากวิกฤตโควิด-19 สู่ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม

ในการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2565 คณะรัฐมนตรีได้รับทราบรายงานการพัฒนาการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ประจำปี 2564 ตามที่สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติเสนอ และให้เสนอต่อรัฐสภาทราบต่อไป รายงานการพัฒนาการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ 2564 นำเสนอในหัวข้อหลักเรื่องการฟื้นตัวจากวิกฤตโควิด-19 สู่ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม

Read more