วว.  / มรภ.วไลยอลงกรณ์ ร่วมพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก จังหวัดปทุมธานี-สระแก้ว ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม

            กระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์  วิจัยและนวัตกรรม  (อว.)  โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์  ในพระบรมราชูปถัมภ์  ผนึกกำลังร่วมพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากจังหวัดปทุมธานีและสระแก้ว ตามนโยบาย  BCG  Model  พร้อมร่วมพัฒนาบุคลากรภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชนเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีและประกาศนียบัตร เพื่อให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี นวัตกรรม และตลาดในอนาคต สู่การยกระดับคุณภาพชีวิต ชุมชน

Read more

วช. หนุน “อุทยานธรณีโลกสตูล” ยกระดับเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตอบโจทย์โมเดลเศรษฐกิจ BCG

เมื่อวันที่ 17 – 19 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา นายเอนก บำรุงกิจ รองผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และคณะผู้ตรวจสอบทางวิชาการ ดร. ยงยุทธ แฉล้มวงษ์

Read more

GISTDA เปิดภาพจากดาวเทียมสุโขทัย พิษณุโลก น้ำท่วมแล้วกว่า 9 หมื่นไร่

GISTDA ใช้ดาวเทียม Sentinel -1 เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2565 พบพื้นที่น้ำท่วมขังในบางส่วนของจังหวัด #สุโขทัย 93,197 ไร่ และ #พิษณุโลก 4,800 ไร่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่ลุ่มต่ำ และริมสองฝั่งแม่น้ำสายหลักสายรองของพื้นที่โดยรอบ ซึ่งรวมถึงชุมชนที่อยู่อาศัย และเส้นทางคมนาคมบางส่วน

Read more

วช.หนุนสร้างศูนย์วิจัยชุมชนแก้ปัญหาลิ้นจี่แบบยั่งยืน

วช.หนุนทีมวิจัยศึกษาปัญหาลิ้นจี่ไม่ออกดอกใน จ.สมุทรสงคราม พร้อมจัดตั้ง “ศูนย์วิจัยชุมชนตำบลแควอ้อม” ชูเป็นต้นแบบรวบรวมองค์ความรู้ด้านลิ้นจี่จากเครือข่ายวิจัย ภาครัฐและปราชญ์ชุมชนแบบครบวงจร ช่วยแก้ปัญหาให้เกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ในพื้นที่แบบยั่งยืน ดร.วิภารัตน์  ดีอ่อง  ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม เป็นลิ้นจี่พันธุ์ที่ได้รับนิยมอย่างมากในจังหวัดสมุทรสงคราม  แต่ด้วยสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปทำให้ในช่วงเกือบ 10 ปีที่ผ่านมา  เกษตรกรประสบปัญหาลิ้นจี่ไม่ติดผลอย่างต่อเนื่องทำให้ขาดรายได้ และบางรายตัดโค่นลิ้นจี่เปลี่ยนไปปลูกพืชอย่างอื่นทดแทน   ในปี 2559 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์

Read more

วช.หนุนงานวิจัยผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงจากวัตถุดิบเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ประโยชน์อย่างครบวงจร

พืชผลทางการเกษตรของประเทศไทยนับว่าเป็นแหล่งสินค้าส่งออกและบริโภคภายในประเทศที่สำคัญ มีความพยายามผลักดันนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก หวังสร้างรายได้เข้าประเทศและเสริมศักยภาพให้กับเกษตรกร ให้มีทักษะในการพัฒนาคุณภาพของสินค้าให้ได้มาตรฐาน ปัจจัยสำคัญที่เข้าไปเกี่ยวข้องนั่นก็คือต้นทุนของปุ๋ยที่นำใช้ในการเกษตร และปัญหาวัตถุดิบที่เหลือใช้จากการเกษตรกลับกลายมาเป็นขยะกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุนี้ทำให้ทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ได้ร่วมกันในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงจากวัตถุดิบที่เหลือใช้จากภาคการเกษตรมาพัฒนาโดยวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพ โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ( วช. ) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ซึ่งนอกจากจะช่วยในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรแล้ว ยังสามารถใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบเหลือใช้จากการเกษตร ลดปัญหามลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน ดร.วิภารัตน์

Read more