นักธุรกิจอวกาศทั่วโลก ตบเท้า ร่วมงาน สัมมนานานาชาติด้านอวกาศส่งเสริมระบบนิเวศเศรษฐกิจอวกาศของไทย

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA และสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ กองทุน กทปส.

Read more

NSM ผนึก ม.มหิดล-สมาคมนักเขียนฯ-สมาคมวิทยาศาสตร์ฯ-จีดีเอช จัดประกวดเรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร์ ปี 66  ชิงรางวัลรวมมูลค่ากว่า 2 แสนบาท มีทั้งรุ่นเยาวชนและประชาชนทั่วไปหมดเขตส่งผลงาน 30 เม.ย นี้

เมื่อวันที่ 20 มี.ค. ผศ.ดร.รวิน ระวิวงศ์ ผอ.องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) หรือ เอ็นเอสเอ็ม(NSM) เปิดเผยว่า   NSM ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหิดล สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์  และบริษัทจีดีเอช ห้าห้าเก้า จำกัด จัดโครงการประกวดเรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร์ ประจำปี

Read more

โครงการวิจัยเรื่อง “Response of Thai rice varieties under elevated CO2 concentrations”  โดย ดร.โจนาลิซ่า แอล เซี่ยงหลิว ได้รับการคัดเลือกเพื่อระดมทุนวิจัยจากแหล่งทุน experiment.com

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นหนึ่งในก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก จากข้อมูลธนาคารโลก พบว่า มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเพาะปลูกข้าวคิดเป็น 10% ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด และ 25-33% ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นแหล่งผลิตข้าวที่สำคัญของโลก โดยเฉพาะประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตข้าวที่ใหญ่ที่สุดแหล่งหนึ่งของโลก เนื่องจากข้าวเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจของประเทศ นักวิจัยไบโอเทคมีความพยายามหาวิธีการเพาะปลูกข้าวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น โดยโครงการวิจัย “การตอบสนองของข้าวไทยพันธุ์ต่างๆ ภายใต้สภาวะคาร์บอนไดออกไซด์สูง”ของ ดร.โจนาลิซ่า แอล เซี่ยงหลิว

Read more

สัมมนาฟรี อนาคตเกษตรอินทรีย์ไทย “นวัตกรรม” ช่วยได้อย่างไร 30 มี.ค.นี้ ภายในงาน NAC2023

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดสัมมนาเรื่อง “อนาคตเกษตรอินทรีย์ไทย “นวัตกรรม” ช่วยได้อย่างไร” ในวันที่ 30 มีนาคม 2566 เวลา 13.30 –16.00 น. ณ

Read more

สวทช.ขอเชิญร่วมสัมมนา ‘การปลูกไม้ไผ่เศรษฐกิจแบบครบวงจร’ 29 มี.ค.นี้ ในงาน ‘NAC2023’

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนาฟรี เรื่อง “การปลูกไม้ไผ่เศรษฐกิจ โดยบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม” ในวันพุธที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 10.00-12.00 น. ณ อาคารศูนย์ประชุม

Read more

วว. /หน่วยงานพันธมิตร เปิดงาน  “TISTR  and  Friends  2023” พัฒนาผู้ประกอบการไทย ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม

เมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2566 ณ ศูนย์การค้าเอ็ม บี  เค เซ็นเตอร์  กรุงเทพฯ : ดร.ชุติมา   เอี่ยมโชติชวลิต  ผู้ว่าการ  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)  กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัดกรรม  (อว.) 

Read more

จากกังหันน้ำคีรีวง สู่แผนการจัดการน้ำชุมชนรอบเทือกเขานครศรีธรรมราช

แม้ว่า “ไฟฟ้าพลังน้ำ” จะเป็นหนึ่งในแหล่งพลังงานทดแทนที่ถูกบรรจุอยู่ภายใต้ แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ.2558-2579 (AEDP2015)  แต่ส่วนใหญ่จะเน้นไปเทคโนโลยีกังหันน้ำผลิตไฟฟ้าขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อป้อนเข้าสู่ระบบสายส่งเป็นสำคัญ ขณะที่เทคโนโลยีกังหันน้ำผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก ซึ่งมีราคาต่อหน่วยพลังงานต่ำสุดในกลุ่มพลังงานหมุนเวียนด้วยกัน (ประมาณ 1.5-12 บาท/กิโลวัตต์-ชั่วโมง) กลับเป็นเทคโนโลยีนำเข้า ที่ทำให้มีค่าใช้จ่ายสูงถึงกิโลวัตต์ละ 100,000 บาท เพราะยังไม่มีบริษัทของไทยที่สามารถผลิตกังหันน้ำขนาดเล็กได้  ทั้งที่เป็นเทคโนโลยีที่จะก่อประโยชน์กับเกษตรกรในพื้นที่ห่างไกลจากสายส่งได้อย่างมหาศาล ชุมชนคีรีวง

Read more

นักวิจัย นาโนเทค สวทช.  ต่อยอด Nano Coating สู่น้ำยาเคลือบพื้นผิวโซลาร์เซลล์ “ลดฝุ่นเกาะ-สะท้อนน้ำ” นวัตกรรมตอบโมเดลเศรษฐกิจ BCG ด้านเศรษฐกิจสีเขียว

‘ฝุ่น’ ไม่เพียงส่งผลต่อสุขภาพและการใช้ชีวิตของมนุษย์เรา แต่ยังส่งผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าของโซลาร์เซลล์ โดยเฉพาะในหน้าแล้งที่ประสิทธิภาพลดลง 6-10% นักวิจัยนาโนเทค สวทช. พัฒนาน้ำยาเคลือบผิวโซลาร์เซลล์ ด้วยเทคโนโลยีเคลือบนาโน (Nano Coating) ลดการเกาะของฝุ่น เพิ่มสมบัติสะท้อนน้ำ พร้อมขยับสู่ดีพเทคสตาร์ตอัปในชื่อ “นาโน โค๊ตติ้ง เทค” นำนวัตกรรมหนุนอุตสาหกรรมพลังงานทางเลือก โดยเฉพาะโซลาร์เซลล์และโซลาร์ฟาร์ม ช่วยลดก๊าซเรือนกระจก

Read more