วช. ร่วมกับ สถาบันคลังสมองของชาติ หนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น เร่ง สร้างความรู้และบทเรียนการทำงานเครือข่ายนักวิจัย ใน 4 ภูมิภาค

เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2565 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สถาบันคลังสมองของชาติจัดการประชุม เรื่อง “ร่วมสร้างความรู้และบทเรียนการทำงานเครือข่ายนักวิจัย CBR 64” เพื่อย้อนทวนเส้นทางการดำเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงในการขับเคลื่อนงาน CBR 63

Read more

วว. ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ  ส่งเสริม สนับสนุน การใช้ประโยชน์จุลินทรีย์โพรไบโอติก

ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา  เอี่ยมโชติชวลิต  ผู้ว่าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย  (วว.)  กระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์  วิจัยและนวัตกรรม (อว.)  รศ.นพ.ฉันชาย   สิทธิพันธุ์   คณบดีคณะแพทยศาสตร์   จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัยลงนามบันทึกความเข้าใจร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ประสานงานให้เกิดความร่วมมือในการใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติก ร่วมกันพัฒนาแนวทางการจัดเก็บและดูแลจุลินทรีย์โพรไบโอติกและบริการตรวจวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยาหรือตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับจุลิทรีย์โพรไบโอติก  โดยมีระยะเวลาดำเนินงาน  5

Read more

วช.หนุนทีมวิจัยม.วลัยลักษณ์ พัฒนาระบบควบคุมความเข้มข้นน้ำยาอัดไม้แปรรูปอุตสาหกรรม ช่วยผู้ประกอบการแปรรูปไม้ยางพารา ลดต้นทุนการใช้สารเคมีได้กว่า 1.4 ล้านบาทต่อปี

ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า วช.ให้ความสำคัญกับการนำองค์ความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีรวมถึงงานวิจัยและนวัตกรรม ไปช่วยแก้ไขปัญหาให้กับผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ เพื่อให้สามารถลดต้นทุนและแข่งขันได้ทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ อย่างเช่น ในอุตสาหกรรมไม้ยางพาราแปรรูป ที่ รองศาสตราจารย์ ดร.นิรันดร มาแทน และคณะ จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้มีการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่า “ImPregWooD” ระบบควบคุมความเข้มข้นน้ำยาอัดไม้แปรรูปอุตสาหกรรม

Read more

GISTDA คาดการณ์พื้นที่น้ำท่วมขังหลังจากอิทธิพลพายุโนรูเคลื่อนตัวสู่ประเทศไทย

🛰️🌪️ 29 กันยายน 2565 GISTDA คาดการณ์พื้นที่น้ำท่วมขังหลังจากอิทธิพลพายุโนรูเคลื่อนตัวสู่ประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลสถิติน้ำท่วมจากดาวเทียมที่เคยเกิดขึ้นในอดีตมาวิเคราะห์ร่วมกับแนวพายุ (สีเหลืองอ่อน) และการคาดการณ์ฝน พบว่าหลายพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความเสี่ยงจะเกิดน้ำท่วมขัง+ฉับพลันเพิ่มขึ้น (สีแดง) จากเดิมที่ท่วมอยู่ในปัจจุบัน (สีฟ้า) โดยเฉพาะพื้นที่ริมแม่น้ำชี แม่น้ำมูล ลำน้ำสายรองต่างๆ รวมถึงพื้นที่ลุ่มต่ำ ชุมชนที่อยู่อาศัย และเส้นทางคมนาคม

Read more